1 แสนล้านบาท ในบัญชีทรัพย์สินของตระกูล เป็นเงินจำนวนมากมายยิ่งนัก สำหรับการออกแบบชีวิตบนโลกใบนี้ กับคนไม่เกิน 500 คน ในเครือญาติ ผู้มีส่วนแบ่งในเงิน 1 แสนล้าน คิดง่ายๆ หาร 500 ทุกคนจะได้ส่วนแบ่ง 200 ล้านบาท มากพอจะลงทุนทำได้สะดวก
แน่นอนสมาชิกในธุรกิจ ไม่ว่าจะด้วยสถานภาพใด พนักงาน หุ้นส่วน ผู้ถือหุ้น ลูกจ้าง ย่อมมีจำนวน หลักหมื่นคน ในการมีส่วนร่วมของกิจกรรมในธุรกิจใหญ่โตนั้นๆ
ผลกำไรจากการทำธุรกิจ โดยเฉลี่ยควบคุมให้มีผลดำเนิการอยู่ที่ประมาณ 20% จากยอดขาย นั้นคือ ผลกำไรโดยเฉลี่ย 20,000 ล้านบาทต่อปี สำหรับธุรกิจแสนล้านในมือ
แต่เมื่อคุณมีเงิน 1 แสนล้านในครอบครอง คุณจะมีทัศนคติ และแนวคิดอย่างไร ?
ย่อมสะท้อนออกมาจากกิจกรรมทางธุรกิจที่คุณมี อันจะแสดงให้เห็นถึงบุคลิกและทัศนะคติของคุณได้ส่วนหนึ่ง
แน่นอนกว่า ทัศนะคติของคุณจะมีผลต่อคนนับหมื่นนับแสน ในมิติต่างๆ ในขณะนี้แล้ว
หากคุณมีธุรกิจ 1 แสนล้านบาท แล้วยังไม่หลุดพ้นคำว่าทำธุรกิจต้องแสวงหากำไรสูงสุด คุณต้องแสวงหานิยมใหม่ที่เหมาะสมกับการมีธุรกิจ 1 แสนล้านบาท
มีคำถามออกมาว่า แล้วใยต้องหานิยามใหม่ นิยามที่ว่า "ธุรกิจคือการแสวงหากำไรสูงุสุด" ไม่ใช่หรือทำให้ธุรกิจเติบโตขึ้นมาได้
ประเด็นเล็กน้อยจุดประกายไว้ว่า นิยามของผู้บริโภครุ่นใหม่คือ "การได้รับสินค้าและบริการที่คุ้มค่าเงินสูงสุด "
นั่นหมายถึง คุณมีทัศนะคติต่อการทำธุรกิจอย่างไรเมื่อคุณสามารถออกแบบธุรกิจได้เองแล้วจากทุนทรัพย์ที่คุณมี จะทำให้เกิดการสมดุลย์ในคุณภาพสินค้าและบริการในราคาที่เหมาะสม
แล้วทำไมต้องเปลี่ยนทัศนคติด้วยละ ? มุ่งกำไรสูงสุดต่อไปเพิ่มการทำกำไรให้มากสิ
เมื่อมีเงิน 1 แสนล้านบาท ทำอะไรให้ดีไม่ได้เชียวหรือ ?
แน่นอนสมาชิกในธุรกิจ ไม่ว่าจะด้วยสถานภาพใด พนักงาน หุ้นส่วน ผู้ถือหุ้น ลูกจ้าง ย่อมมีจำนวน หลักหมื่นคน ในการมีส่วนร่วมของกิจกรรมในธุรกิจใหญ่โตนั้นๆ
ผลกำไรจากการทำธุรกิจ โดยเฉลี่ยควบคุมให้มีผลดำเนิการอยู่ที่ประมาณ 20% จากยอดขาย นั้นคือ ผลกำไรโดยเฉลี่ย 20,000 ล้านบาทต่อปี สำหรับธุรกิจแสนล้านในมือ
แต่เมื่อคุณมีเงิน 1 แสนล้านในครอบครอง คุณจะมีทัศนคติ และแนวคิดอย่างไร ?
ย่อมสะท้อนออกมาจากกิจกรรมทางธุรกิจที่คุณมี อันจะแสดงให้เห็นถึงบุคลิกและทัศนะคติของคุณได้ส่วนหนึ่ง
แน่นอนกว่า ทัศนะคติของคุณจะมีผลต่อคนนับหมื่นนับแสน ในมิติต่างๆ ในขณะนี้แล้ว
หากคุณมีธุรกิจ 1 แสนล้านบาท แล้วยังไม่หลุดพ้นคำว่าทำธุรกิจต้องแสวงหากำไรสูงสุด คุณต้องแสวงหานิยมใหม่ที่เหมาะสมกับการมีธุรกิจ 1 แสนล้านบาท
มีคำถามออกมาว่า แล้วใยต้องหานิยามใหม่ นิยามที่ว่า "ธุรกิจคือการแสวงหากำไรสูงุสุด" ไม่ใช่หรือทำให้ธุรกิจเติบโตขึ้นมาได้
ประเด็นเล็กน้อยจุดประกายไว้ว่า นิยามของผู้บริโภครุ่นใหม่คือ "การได้รับสินค้าและบริการที่คุ้มค่าเงินสูงสุด "
นั่นหมายถึง คุณมีทัศนะคติต่อการทำธุรกิจอย่างไรเมื่อคุณสามารถออกแบบธุรกิจได้เองแล้วจากทุนทรัพย์ที่คุณมี จะทำให้เกิดการสมดุลย์ในคุณภาพสินค้าและบริการในราคาที่เหมาะสม
แล้วทำไมต้องเปลี่ยนทัศนคติด้วยละ ? มุ่งกำไรสูงสุดต่อไปเพิ่มการทำกำไรให้มากสิ
เมื่อมีเงิน 1 แสนล้านบาท ทำอะไรให้ดีไม่ได้เชียวหรือ ?
ความคิดเห็น