ข้อมูลน้ำในเขื่อนต่างๆในประเทศไทย 25 มกราคม 2555 คลิก จะเห็นว่ามีปริมาณมากใครที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วม ท่านสำรวจรอบบ้านท่าน ไม่ว่าจะเป็น นครสวรค์ ลงมาถึง สมุทรสาคร ปริมาณน้ำค้างทุ่งได้ถูกระบายออกไปมากน้อยเพียงใดแล้ว
2555 จะผ่านเดือนมกราคมไปแล้ว อากาศยังคงหนาวเย็นต่อไปอีกจนถึงต้นเดือน กุมภาพันธ์ ตอนนี้เราจะคาดการน้ำในเขื่อนจะมีปริมาณลดลงมากน้อยเพียงใด ใน 4 เดือนข้างหน้า กพ-พค
หากน้ำในทุ่งยังคงระบายออกไม่หมดทำนาไม่ได้ หรือใช้นำในทุ่งทำนา รอบแรก กว่าจะใช้น้ำเขื่อนก็ต้องผ่านไปอีก 2 เดือน หากปริมาณน้ำในเขื่อนสุทธิเมื่อถึง ต้นเดือน มิถุนาย 55 ยังอยู่ในปริมาณมาก และฝนตกผิดฤดูเกิดขึ้นในช่วงเวลา 4 เดือนข้างหน้า วิกฤตน้ำเต็มเขื่อนจะเกิดขึ้นอีก รับฤดูฝน ปี 55
ยกสถิติน้ำในเขื่อนภูมิพล 2011-2010-2009 คลิก แล้วเลือกเปรียบเทียบปี จะได้ผลข้างล่างนี้
จะเห็นได้ว่า ปี 2009 จากเส้นสีฟ้าอ่อน ปี 2010 เส้นสีเขียว ปี 2011 เส้นสีน้ำเงิน
ปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลในปี 2009 มีปริมาณมากกว่า ปี 2010 ตลอดปี การใช้น้ำสองปีนี้สมมาตรกัน
แต่ในปี 2011 การเพิ่มขึ้นของปริมาณน้ำในเขื่อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือน มีนาคม 2011 ถึงต้น พฤษภาคมน้ำคงระดับ และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเต็มเขื่อนในปลายเดือน กันยายน 2011 โดยเริ่มลดลงในต้นปี 2012 ตอนนี้มีน้ำอยู่ในเขื่อน เมื่อเทียบกับ 3 ปีก่อนหน้าในปริมาณที่สูง และหากเราใช้น้ำในปริมาณที่เท่ากัน ก่อนฝนจะตกเราจะมีน้ำในเขื่อนประมาณ อย่างน้อย 9,000 ล้านลูกบาทเมตร ในต้นเดือน พฤษภาคม 2555 หากฝนไม่ตก ซึ่งเป็นระดับน้ำที่เรามีในช่วงเดียวกันในปี 2011 และหากฝนตกหนักเหนือเขื่อนอีกเช่นปี 2011 น้ำจะเต็มเขื่อนซ้ำรอยเดิม
แต่หากฝนมาก่อนน้ำจะเต็มเขื่อนเร็วขึ้นประมาณเดือน สิงหาคม 2555
ปริมาณน้ำที่ใช้ในปีนี้ดูจากเส้นสีแดง จะเห็นว่ามีแนวดิ่งในระนาบเดียวกับ สามปีก่อนหน้า นั้นบอกได้ว่า เขื่อนระบายน้ำออกมา ในระดับเดียวกัน ทั้งในการผลิตไฟฟ้าและการเกษตร แต่กหากการระบายน้ำ ทำให้น้ำท่วมทุ่งค้างระบายไม่ออก โอกาสที่น้ำจะท่วมเร็วในปีนี้ก็จะเกิดขึ้นได้อีก
หากสำรวจข้อมูลจากเขื่อนทั่วประเทศอยู่ในสภาพเดียวกันแทบทั้งสิ้น ดังนั้นหากฤดูฝนและพายุในปีนี้มีปริมาณเท่าเดิม จะทำให้มีพื้นที่น้ำท่วมเพิ่มมากขึ้น
เว้นแต่ปีนี้ฝนทิ้งช่วง เป็นไปได้หรือไม่ให้ย้อนข้อมูลไป 10 ปี หากเกิดสภาพเช่นนั้นปีนี้ก็อาจจะเกิดฝนทิ้งช่วงได้ น้ำในเขื่อนก็จะช่วยแทนฝน แต่หากฝนยังคงเดิม เราเตรียมรับมือน้ำท่วมกันได้เลยตั้งแต่วันนี้
2555 จะผ่านเดือนมกราคมไปแล้ว อากาศยังคงหนาวเย็นต่อไปอีกจนถึงต้นเดือน กุมภาพันธ์ ตอนนี้เราจะคาดการน้ำในเขื่อนจะมีปริมาณลดลงมากน้อยเพียงใด ใน 4 เดือนข้างหน้า กพ-พค
หากน้ำในทุ่งยังคงระบายออกไม่หมดทำนาไม่ได้ หรือใช้นำในทุ่งทำนา รอบแรก กว่าจะใช้น้ำเขื่อนก็ต้องผ่านไปอีก 2 เดือน หากปริมาณน้ำในเขื่อนสุทธิเมื่อถึง ต้นเดือน มิถุนาย 55 ยังอยู่ในปริมาณมาก และฝนตกผิดฤดูเกิดขึ้นในช่วงเวลา 4 เดือนข้างหน้า วิกฤตน้ำเต็มเขื่อนจะเกิดขึ้นอีก รับฤดูฝน ปี 55
ยกสถิติน้ำในเขื่อนภูมิพล 2011-2010-2009 คลิก แล้วเลือกเปรียบเทียบปี จะได้ผลข้างล่างนี้
ปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลในปี 2009 มีปริมาณมากกว่า ปี 2010 ตลอดปี การใช้น้ำสองปีนี้สมมาตรกัน
แต่ในปี 2011 การเพิ่มขึ้นของปริมาณน้ำในเขื่อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือน มีนาคม 2011 ถึงต้น พฤษภาคมน้ำคงระดับ และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเต็มเขื่อนในปลายเดือน กันยายน 2011 โดยเริ่มลดลงในต้นปี 2012 ตอนนี้มีน้ำอยู่ในเขื่อน เมื่อเทียบกับ 3 ปีก่อนหน้าในปริมาณที่สูง และหากเราใช้น้ำในปริมาณที่เท่ากัน ก่อนฝนจะตกเราจะมีน้ำในเขื่อนประมาณ อย่างน้อย 9,000 ล้านลูกบาทเมตร ในต้นเดือน พฤษภาคม 2555 หากฝนไม่ตก ซึ่งเป็นระดับน้ำที่เรามีในช่วงเดียวกันในปี 2011 และหากฝนตกหนักเหนือเขื่อนอีกเช่นปี 2011 น้ำจะเต็มเขื่อนซ้ำรอยเดิม
แต่หากฝนมาก่อนน้ำจะเต็มเขื่อนเร็วขึ้นประมาณเดือน สิงหาคม 2555
ปริมาณน้ำที่ใช้ในปีนี้ดูจากเส้นสีแดง จะเห็นว่ามีแนวดิ่งในระนาบเดียวกับ สามปีก่อนหน้า นั้นบอกได้ว่า เขื่อนระบายน้ำออกมา ในระดับเดียวกัน ทั้งในการผลิตไฟฟ้าและการเกษตร แต่กหากการระบายน้ำ ทำให้น้ำท่วมทุ่งค้างระบายไม่ออก โอกาสที่น้ำจะท่วมเร็วในปีนี้ก็จะเกิดขึ้นได้อีก
หากสำรวจข้อมูลจากเขื่อนทั่วประเทศอยู่ในสภาพเดียวกันแทบทั้งสิ้น ดังนั้นหากฤดูฝนและพายุในปีนี้มีปริมาณเท่าเดิม จะทำให้มีพื้นที่น้ำท่วมเพิ่มมากขึ้น
เว้นแต่ปีนี้ฝนทิ้งช่วง เป็นไปได้หรือไม่ให้ย้อนข้อมูลไป 10 ปี หากเกิดสภาพเช่นนั้นปีนี้ก็อาจจะเกิดฝนทิ้งช่วงได้ น้ำในเขื่อนก็จะช่วยแทนฝน แต่หากฝนยังคงเดิม เราเตรียมรับมือน้ำท่วมกันได้เลยตั้งแต่วันนี้
จะเป็นอย่างไร ข้อมูล น้ำในปี 2006 หรือ 2549 เส้นสีฟ้า ปริมาณน้ำล้นเขื่อน ปี 49 น้ำท่วมหรือไม่ แต่ในปี 50 เส้นสีชมพู จะเทียบกับปี 55 เส้นสี่แดงได้ จะเห็นว่าปีนี้มีการระบายน้ำออกมามากกว่าปี 50 ในช่วงเดียวกัน
ปี 50 เส้นสีชมพูฝนตกในเดือน พฤษภาคม และน้อยลงใน กรกฏาคม และตกอีกช่วงช่วงกันยายน หาปีนี้ฝนน้อย สภาพน้ำในเขื่อนจะไม่ห่างจากเส้นสีชมพู ของปี 50 ขึ้นอยู่กับปริมาณฝนและสภาพใต้เขื่อน ซึ่งอาจจะมีสภาพน้ำท่วมนาน จากการจัดการน้ำในเขื่อนเกิดขึ้นได้ในลุ่มภาคกลาง
สรุปหากเราจัดการน้ำในเขื่อน เช่นปี 50 และฝนตกน้อยปีนี้น้ำไม่ท่วมมาก
แต่หากฝนตกมาก จัดการอย่างไร ก็หนีไม่พ้นน้ำท่วมใหญ่อีก หากเป็นฝนตกเหนือเขื่อน ในช่วง 4 เดือนนี้เขื่อนต้องระบายน้ำออกมาไม่ต่ำกว่า 5,000 ล้านบูกบาศเมตร ซึ่งปกติจะระบายอยู่ที 3 - 4 พันล้นลูบาศเมตร จะส่งผลกระทบอย่างไร
ความคิดเห็น